หน้าหลัก | พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | มจธ.
สืบค้นข้อมูล

Title มหานิกาย
Object สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง. เล่ม 10, พิทักษเทเวศร์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ - มอญในภาคกลาง Call number DS568 ม-ส 2542
Object พระมหากษัตริย์ไทยกับศาสนาประจำชาติ Call number BQ4570.K5 ส-พ 2543
Summary ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงตั้งพระสงฆ์นิกายใหม่เรียกว่า “ธรรมยุตินิกาย” และเรียกพระสงฆ์ไทยเดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ของประเทศว่า “มหานิกาย” คณะสงฆ์ทั้งสองคณะใช้ระบบการศึกษาเดียวกันตามหลักสูตรนักธรรมและหลักสูตรบาลี เรียกว่า “การศึกษาพระปริยัติธรรม” ต่อมาใน พ.ศ. 2490 คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกายได้ประชุมปรึกษากันและตกลงกันเปิดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย เพื่อสนองพระราชดำริและพระราชประสงค์ของรัชกาลที่ 5 ที่ทรงสถาปนา “มหาธาตุวิทยาลัย” ขึ้น และต่อมาทางเปลี่ยนนามเป็น “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” โดยได้เริ่มการศึกษาเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2490 เป็นต้นมา

ที่มา:
จำนงค์ ทองประเสริฐ. “มหานิกาย,” สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง. เล่ม 10, พิทักษเทเวศร์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ – มอญในภาคกลาง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2542. หน้า 4840-4842.
สุจิตรา อ่อนค้อม. “กำเนิดธรรมยุติกนิกาย,” พระมหากษัตริย์ไทยกับศาสนาประจำชาติ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏธนบุรี, 2543. หน้า 81-86.