หน้าหลัก | พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | มจธ.
สืบค้นข้อมูล

Title ประเพณีวิถีไทย
Object Call number
Summary เป็นการนำเรื่องเล่าและความเชื่อของคนไทยในสมัยโบราณที่มีเกร็ดความรู้แปลก ๆ เช่น เรื่องการ เล่นไต่ลวด ไม้สูง นอนบนคมหอกคมดาบ ที่มีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่องมาจนมาถึงสมัยกรุงรัตน โกสินทร์ ที่จัดขึ้นในงานพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น งานพระเมรุ งานสมโภชใหญ่ ๆ โดยอาศัยดูภาพ ฝีมือของจิตกรตามวัด เช่น วัดเกาะแก้วสุทธาราม ในตัวเมืองเพชรบุรีกับวัดประดู่ทรงธรรม จังหวัด พระนครศรีอยุธยา การโปรยทานทิ้งทานที่มามาแต่สมัยอยุธยา ในหนังสือบุณโณวาทคำฉันท์ ซึ่ง แต่ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ราว ๆ พ.ศ. 2293-2294 เขียนโดย พระมหานาค วัดท่าทราย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวความเชื่อความเป็นมาของคำว่าหัวป่า กับ หัวป่าห์ พิธีแรกนาขวัญ กับพืช มงคง ช้อนกะลาเหลี่ยม ผ้ากราบ ไม้สีฟัน ไม้ขูดฟัน นักขว้าง และเรื่องเมื่อแร้งจับหลังคาเรือน

ที่มา :
เอนก นาวิกมูล. ประเพณีวิถีไทย = Culturally Thai. กรุงเทพ ฯ : แสงดาว, 2547.