Search



บรรณานุกรม


กนก วลี ชูชัยยะ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : เมธีทิปส์, ๒๕๔๗. หน้า ๖๔. ไกรฤกษ์ นานา. "ภาพประวัติศาสตร์ สมัย ร.๔," ช่วงคุณพระโชว์ ในรายการคุณพระช่วย. กรุงเทพฯ : บริษัท เวิร์ค พอยต์ เอนเตอร์เทนเมนต์, ๒๕๕๐.

จุลลดา ภักดีภูมินทร์. “สะพานเหล็ก,” สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๔๗๕ ประจำวันอังคารที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๕. URL : http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stauthorid= 13&stcolcatid=2&stcolumnid=1303&stissueid=2475, ๓ ตุลาคม ๒๕๕๑.

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย และคณะ. "ประวัติศาสตร์ของกิจการตำรวจ," ใน ความเป็นไปได้ในการโอนภารกิจของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. นนทบุรี : คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ, ๒๕๕๑. หน้า ๑๐๔-๑๑๑.

นวพร เรืองสกุล. ๑๐๐ ปี จากบุคคลัภ์สู่ไทยพาณิชย์. กรุงเทพฯ : ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๕๐. หน้า ๑๐-๑๒.

แน่งน้อย ศักดิ์ศรี. มรดกสถาปัตยกรรมกรุงรัตนโกสินทร์. เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ (1984), ๒๕๓๗. หน้า ๒๑๖.

เผ่าทอง ทองเจือ. "กระบอกดับเพลิงโบราณ," ช่วงคุ้มของเก่า ในรายการคุณพระช่วย. กรุงเทพฯ : บริษัท เวิร์ค พอยต์ เอนเตอร์เทนเมนต์, ๒๕๕๐. ออกอากาศเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อสมท.

เผ่าทอง ทองเจือ. "ที่พักตากอากาศ ," ไทยรัฐ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ : หน้า ๒๔. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. ๑๒๕ ปี ไปรษณีย์ไทย. กรุงเทพฯ : ไปรษณีย์ไทย, ๒๕๕๑. หน้า ๒๘-๓๐.

ประยุทธ สิทธิพันธ์. สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม. เล่มต้น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรสยาม, ๒๕๑๖. หน้า ๑๕๘-๑๖๒.

ลำจุล ฮวบเจริญ. เกร็ดพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : โนว์เลจ, ๒๕๕๐.

สงวน อั้นคง. “อัครราชทูตไทยประจำยุโรป,” สิ่งแรกในเมืองไทย. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, ๒๕๐๒. หน้า ๓๐-๔๓.

สงวน อั้นคง. “หนังสือพิมพ์,” สิ่งแรกในเมืองไทย. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, ๒๕๐๒. หน้า ๕๒๙-๕๖๖.

สภาการเหมืองแร่. “เหมืองแร่ดีบุกในประเทศไทย,” อุตสาหกรรมเหมืองแร่ : อดีต ปัจจุบัน อนาคต. กรุงเทพฯ : สภาการเหมืองแร่, ๒๕๕๑. หน้า ๗๑-๗๒.

สมบัติ พลายน้อย. ๑๐๐ รอยอดีต. กรุงเทพฯ : อักษรสัมพันธ์, ๒๕๒๗. หน้า ๒๙-๓๐.

สมพงษ์ เกรียงไกรเพชร. ประวัติและเหตุการณ์. พระนคร : ผ่านฟ้าพิทยา, ๒๕๐๘.

สมศรี บุญอรุณรักษา. พระสังฆราชปัลเลอกัวซ์ : มิตรที่ดี สนิทสนม และจริงใจ ในรัชกาลที่๔, นักพิมพ์และนักเขียน. กรุงเทพฯ : สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, ๒๕๕๐.

๒๐๐ ปี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท. กรุงเทพฯ : ประชาชน, ๒๕๕๑. หน้า ๒๘. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. "ประวัติตำรวจไทย," ใน รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ๒๕๕๐. หน้า ๑-๒๑.

สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ๒๕๔๘.

สุพิน ธนวัฒน์เสรี. "ไกรฤกษ์ นานา : มองยุโรปผ่านแว่นสยาม ร.ศ.๑๑๒," MBA. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๓ : กันยายน ๒๕๕๑ : หน้า ๑๓๖-๑๕๐.

สุวรรณ เพชรนิล. พระจอมปิ่น ๒๐๐ ปี พระบิดาวิทยาศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๗.

มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. “ธุรกิจโรงแรมในไทย,” หลักการโรงแรม. URL : http://www.rmu.ac.th/~kachathamon/elearning/content/lesson1/203.html, ๓ ตุลาคม ๒๕๕๑.

อเนก นาวิกมูล. “มิสเตอร์เฟาล์ หลวงสยามานุเคราะห์ ณ เมืองรางกูน (3),” ฝรั่งที่เกี่ยวข้องกับสยาม ๒. กรุงเทพฯ : สายธาร, ๒๕๔๙. หน้า ๖๗-๘๓.

เอกชาติ จันอุไรรัตน์. ๓ ทศวรรษกับงานออกแบบตกแต่งภายในของไทย. กรุงเทพฯ : บ้านและสวน, ๒๕๕๑. หน้า ๘๖-๘๗.

โอภาส เสวิกุล. พระราชบิดาแห่งการปฎิรูป. พระนคร : โรงพิมพ์แจ่มเจริญการพิมพ์, ๒๕๑๓.


บรรณานุกรมภาพประกอบ

กระบอกดับเพลิง ทำด้วยทองเหลือง เส้นผ่าศูนย์กลาง ๑.๘ นิ้ว ยาว ๑.๓๓ เมตร (ยืดเต็มที่ ๒ เมตร)
ฉีดน้ำได้ไกล ๕๐-๖๐ เมตร สูงถึงหลังคาตึก ๓ ชั้น เข้าถึงได้จาก URL : http://i176.photobucket.com/albums/w176/mrtbtt/35.jpg

ไกรฤกษ์ นานา. “หนังสือพิมพ์ The Illustrated London News ฉบับวันที่ ๕ ธันวาคม ค.ศ.๑๘๕๗ :
(ภาพข่าวด้านใน) คณะราชทูตชุดแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วยคณะทูตและผู้ติดตามรวม 28 คน นำโดยราชทูตคือ พระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค) เดินทางโดยทางเรือ ถึงเมืองพอร์ทสมัธ (Porstmouth) ในอังกฤษ วันที่ ๒๘ ตุลาคม ค.ศ.๑๘๕๗ ได้เข้าเฝ้าถวายพระราชสาส์นของรัชกาลที่ ๔ ต่อพระหัตถ์สมเด็จพระราชินีนาถวิคตอเรีย ณ พระราชวังวินด์เซอร์ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ค.ศ.๑๘๕๗,” สมุดภาพรัชกาลที่ ๔ : วิกฤติและโอกาสของรัตนโกสินทร์ในรอบ ๑๕๐ ปี. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๐. หน้า ๖๐.

ไกรฤกษ์ นานา. “หนังสือพิมพ์อังกฤษเข้าถึงราชสำนักไทย กรมหมื่นอักษรสาสนโสภณ ทรงอ่าน
หนังสือพิมพ์ The Illustrated London News,” สยามกู้อิสรภาพตนเอง : ทางออกและวิธี
แก้ปัญหาชาติบ้านเมืองเกิดจากพระราชกุศโลบายของพระเจ้าแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๕๐. หน้า ๕.

“คลองผดุงกรุงเกษม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ขุดเมื่อ พ.ศ.๒๓๙๔ โดยมี
เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นแม่กองในการขุด ภาพนี้ถ่ายบริเวณสะพานเจริญ
สวัสดิ์ ในสมัยรัชกาลที่ ๕,” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๑๒๕.

“เซอร์ จอห์น เบาว์ริง (Sir John Bowring) หรือพระยาสยามานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ (พ.ศ.
๒๓๓๕-พ.ศ.๒๔๑๕),” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๑๖๗.

“แผนที่แสดงคลองขุด คลองผดุงกรุงเกษม ถนนเจริญกรุง และป้อมฤทธิรุทร์โรมรัน ริมพระที่นั่ง
สุทไธสวรรย์ด้านใต้ (ภาพถ่ายสมัยรัชกาลที่ ๕),” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดิน
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๑๒๕-๑๒๙.

“ถนนเจริญกรุง หรือถนนใหม่ (New Road) ภาพนี้ถ่ายบริเวณโรงพักพลตระเวณบางรักเดิม
(ภาพถ่ายในสมัยรัชกาลที่ ๕),” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๑๒๕.

บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. “ตราไปรษณียากรของอินเดียและสเตรตส์ เซ็ตเติลเมนส์ ที่สถานกงสุล
อังกฤษ นำมาใช้โดยพิมพ์ทับตัวอักษร “B” แทนคำว่า Bangkok,” ๑๒๕ ปี ไปรษณีย์ไทย.
กรุงเทพฯ : ไปรษณีย์ไทย, ๒๕๕๑. หน้า ๓๐.

“พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี ฉายเมื่อ พ.ศ.
๒๓๙๙,” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๓๓.

“พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร) ประสูติแต่เจ้าจอมมารดา
น้อย ต้นราชสกุล สุประดิษฐ์,” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๕๗.

พิพัฒน์ พงศ์รพีพร. “ปรากฎการณ์เรือสินค้า 100 ลำ ในแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อปลายปี ๒๔๐๗,”
ภาพมุมกว้างของกรุงเทพมหานคร ในสมัยรัชกาลที่ ๔ : การค้นพบใหม่. กรุงเทพฯ : เมือง
โบราณ, ๒๕๔๔. หน้า ๑๐๐.

“ภาพถ่ายเจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม สวมชุดสุภาพสตรีฝรั่ง,” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดิน
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๓๘.

“โรงกษาปณ์สิทธิการ รัชกาลที่ ๔ โปรดให้สร้างโรงเครื่องจักรสำหรับทำเหรียญกษาปณ์ขึ้น
ที่หน้าพระคลังมหาสมบัติ” ประชุมภาพประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๒๔๙.

“สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) (พ.ศ.๒๓๕๑-พ.ศ.๒๔๒๕),” ประชุมภาพ
ประวัติศาสตร์แผ่นดินสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๔๘. หน้า ๑๕๒.