Search

เลขหมู่
ชื่อ เรื่อง
กัณฐิกา ศรีอุดม. บาตรและตาลปัตรของสยามในงานร้อยปี เมืองลุงแซม," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๑ : พฤศจิกายน ๒๕๕๐ : หน้า ๕๖-๕๙.
กรกฎ. "ประเพณีการ แข่งเรือ," สยามอารยะ. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒๒ : ตุลาคม ๒๕๓๗ : หน้า ๘๒-๘๔.
กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม. "พระราช นิพนธ์ในรัชกาลที่ ๕ ว่าด้วยวัดพระนามบัญญัติ วัดราชประดิษฐ ," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๑๒ : ตุลาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๗๘-๘๗.
กาญจนา วิชญาปกรณ์. "กลอนลำนำและ เพลงยาวกับชาววัง," วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ : มกราคม-เมษายน ๒๕๕๐ : หน้า ๘๗-๙๓.
ไกรฤกษ์ นานา. "แปลกแต่จริง 'สยามกู้อิสรภาพตนเอง' ฉบับคนอเมริกันเขียนประวัติศาสตร์ไทย," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๓ : มกราคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๑๖-๑๓๖.
ไกรฤกษ์ นานา. “ภาพมุมกว้าง รูปสุดท้ายสมัยรัชกาลที่ ๔ กับปริศนาหลังภาพที่ประวัติศาสตร์ลืม,” ศิลป วัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๕ : มีนาคม ๒๕๕๑ : ๙๔-๑๑๓.
ไกรฤกษ์ นานา. "ภาพวาดราชทูต สยามและราชทูตฝรั่งเศสถวายพระราชสาส์นสมัยรัชกาลที่ ๔ : ณ ทำเนียบเอกอัครราชทูตไทยประจำฝรั่งเศส," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๓ : มกราคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๓-๑๔.
ไกรฤกษ์ นานา. "รูปปั้นล่อง หนของนโปเลียนที่ 3 หลักฐานถึงเมืองไทยแล้ว," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๑๒ : ตุลาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๑๒-๑๓.
"เครื่อง ราชอิสริยาภรณ์," อัพเดท. ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒๔๙ : มิถุนายน ๒๕๕๑ : ๑๐๕.
จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. "นโมการัฎฐกคาถา (นโม ๘ บท) : พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว," วารสารไทย. ฉบับที่ ๑๑๔ : เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๓ : หน้า ๙๑.
จันทร์ฉาย ภัคอธิคม. "ทำเนียบราชี นีสยาม ฐานันดรสูงสุดแห่งภรรยาเจ้า," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๕ : มี.ค.๒๕๓๖ : หน้า ๔๕-๕๗.
จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา. "นายมัลล้อก พ่อค้าอังกฤษ," ในคอลัมภ์จุดอ่อนของคนไทยในสายตาต่างชาติ ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๘ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๔๘-๔๙.
จิตตวิพา. "การเดินทางของเงินตราไทย," จุลสารพิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๖ : มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๕-๑๘.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. "คลอง บางกอกใหญ่," สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๘๑ : พฤษภาคม ๒๕๔๕ : หน้า ๓๒-๓๓.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. "ถนนสิบสาม ห้าง ‘ศรีสำราญ’," สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๔๗๗ : เมษายน ๒๕๔๕ : หน้า ๔๖-๔๘.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. “ที่ลงพระ บังคน’,” สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๔๗๘ : เมษายน ๒๕๔๕ : หน้า ๘๕-๘๖.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. "ธรรมเนียม เจ้านายดำเนินตามลำดับยศ," สกุลไทย. ปีที่ ๕๔ ฉบับที่ ๒๘๐๑ : ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๑ : หน้า ๗๖-๗๗.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. “ป้อมปราการ เมืองสมัยต้นรัตนโกสินทร์,” สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๔๗๔ : มีนาคม ๒๕๔๕ : หน้า ๘๕-๘๖.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. "พระราช สัมพันธ์ในพระบรมราชวงศ์ต้นรัตนโกสินทร์," สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๔๙๑ : กรกฎาคม ๒๕๔๕ : หน้า ๕๘-๕๙.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. “ลัญจกร หรือ ลัญฉกร,” สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๕๐๓ : ตุลาคม ๒๕๔๕ : หน้า ๕๘-๕๙.
จุลลดา ภักดีภูมินทร์. “เล่าเรื่อง มอญ,” สกุลไทย. ปีที่ ๔๘ ฉบับที่ ๒๔๘๖ : มิถุนายน ๒๕๔๕ : หน้า ๕๘-๕๙.
"จุฬาราชมนตรี," วารสารมวลชน. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑๗ : พฤษภาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๒.
เจียนละออ. "เรื่อง เล่าผ่านแสตมป์," ดิฉัน. ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๑. หน้า ๒๘๔-๒๘๙.
เฉลิมศรี จันทสิงห์. "อิทธิพลของผู้สร้างเรื่อง : กรณีศึกษาเรื่องเล่าของนางแอนนา (ค.ศ.๑๘๗๐-๑๙๙๙)," วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ ๒๘ ฉบับพิเศษภาษาและวรรณกรรมตะวันตก : ธันวาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๗๒-๑๐๖.
ชลอ รอดลอย. "คาถาพืชมงคล : การใช้ภาพพจน์สัมพันธ์กับพระพุทธศาสนาและพระมหากษัติรย์เพื่อข้าวไทย," วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๖ (ธันวาคม ๒๕๕๒ - มิถุนายน ๒๕๕๓). หน้า ๖๒-๗๖.
ณรงค์ บุญเสถียรวงศ์. "สมเด็จพระมหาสมณเจ้า และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า," วิทยุสราญรมย์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓๔ : มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๓๖-๑๔๘.
ณรงค์ บุญเสถียรวงศ์. "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า," วิทยุสราญรมย์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓๒ : กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๙ : หน้า ๗๗-๙๔.
"ตำนาน ก เอ๋ย ก ไก่," ข่าวสารพิพิธภัณฑ์ผ้า. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๖ : พฤษภาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๒.
ถาวร สิกขโกศล. "สำนักดนตรี ไทย : จากต้นรัตนโกสินทร์ถึงครูเลื่อน สุนทรวาทิน," ศิลป วัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๙ : กรกฎาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๑๖-๑๓๖.
""ที่ พักตากอากาศ," ไทยรัฐ. ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ : หน้า ๒๔.
นายดักแด้. "ผ้าไหมปูม ...จากผ้าสมปักสู่แฟชั่นของสามัญชน, " ข่าวสารพิพิธภัณฑ์ผ้า. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔๗ : มิถุนายน ๒๕๔๙ : หน้า ๔-๕.
นายประสงค์ ไม่ออกนาม. "อาคารทรงไทย บนป้อมขันฑ์เขื่อนเพ็ชรมาอย่างไร ไปอย่างไร ใครตอบที," ศิลป วัฒนธรรม. ปีที่ ๒๗ ฉบับที่ ๑๒ : ตุลาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๓๘-๔๑.
ทัศน์ ทองทราย. "ภาพสีน้ำมันรูป "ยอร์ช วอชิงตัน" ของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ของดีที่กรมศิลปากรควรอวด," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๙ : กรกฎาคม ๒๕๕๑ : หน้า ๗๘-๘๕.
ธวัชชัย ปุณณลิมปากุล, เสกสรรค์ ญาณพิทักษ์. "การจัดสร้างนพรัตน์สังวาลองค์พระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก," สาร สำนักช่างสิบหมู่. ปีที่ 7 ฉบับที่ ๑ : ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๗-๑๐.
นิตยา กนกมงคล. "ความเจริญงอกงามของงานศิลปหัตถกรรม สมัยรัตนโกสินทร์ (๑)," พิพิธ ภัณฑสาร. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๒ : มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๔-๗.
นุกูล ตันริยงค์. "บารมีพระมากล้น รำพัน ตอนที่ ๑," สนองโอฐสภากาชาดไทย. ฉบับที่ ๑๗๓ : กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๐ : หน้า ๓๗-๓๘.
แน่งน้อย ศักดิ์ศรี. "ความผูกพัน ที่รัชกาลที่ ๔ ทรงมีต่อวัดราชประดิษฐ์ฯ," ศิลปวัฒนธรรม. ปืที่ ๒๗ ฉบับที่ ๑๒ : ตุลาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๑๐๒-๑๑๓.
บาราย. "มหาเปรียญ ๑๘," ใน คัมภีร์จากแผ่นดิน ไทยรัฐ. ปีที่ ๕๗ ฉบับที่ ๑๗๗๘๕ : วันอาทิตย์ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๕.
ปถพีรดี. "ข้อสังเกตบางประการ : สีในจิตรกรรมไทยโบราณและแนางไทยโบราณ," สกุลไทย. ปีที่ ๕๓ ฉบับที่ ๒๗๔๙ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๑๓๐-๑๓๑, ๑๓๔.
ปรีดี พิศภูมิวิถี. "พระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายในชั้น 'กรมหลวง'ในพระราชวงศ์จักรี," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๘ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๒๘-๓๔.
"ผมทรงมหาดไทย," ในประกาศเรื่องพัชวาลวิชนี ศิลป วัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๘ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๑๑.
ฝ่ายห้องสมุดเฉพาะสำนักราชเลขาธิการ. "ท่าราชวรดิฐ,"  จดหมายข่าวสำนักราชเลขาธิการ ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๓ (มิถุนายน-กันยายน ๒๕๕๒) หน้า ๘๗.
"พระนารายณ์ราชนิเวศน์," กินรี. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๖ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๔๘.
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. "ประกาศเรื่อง ตั้งพันปากพล่อย," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๙ : กรกฎาคม ๒๕๕๑ : หน้า ๑๑.
พัสวีสิริ เปรมกุลนันท์. "ปิดหน้าต่าง-ประตู ดูจิตรกรรมรัชกาลที่ 4 เรื่องวินัยสงฆ์," ดำรงวิชาการ. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม) ๒๕๕๒ หน้า ๓๐-๔๔.
พิเชฐ โสวิทยกุล. "การออกแบบ โครงการอุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จ.เพชรบุรี," วารสารแคแสด. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๔ : ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๔๙ : หน้า ๑๘-๒๑.
พิษณุ บางเขียว. "บ้าน" ของสมเด็จเจ้าพระยา," สุริยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๗ (มกราคม ๒๕๕๔) หน้า ๗.
ภรดี พันธุภากร และคณะ. "การศึกษาเครื่องเคลือบดินเผาเพื่อประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมไทย," วารสารศิลปกรรมบูรพา. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ : ธันวาคม ๒๕๔๙-พฤษภาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๒๖-๔๑.
มนตรี จิรพรพนิต. "ป้อง ปัจจามิตร ป้อมปืนสมัย ร.๔," ข่าวสด. ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๖๑๘๔ : วันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ : หน้า ๖.
"ยู เนสโกยกย่อง "กรมหลวงวงษาธิราชสนิท" เป็นบุคคลสำคัญของโลก," ไทย โพสต์. ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
"เยาวราช : ชุมชนคนจีนในกรุงเทพฯ," กินรี. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๖ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๓๐.
"ร้านหนังสือประตูสู่อนาคต," หนังสือ. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๖ : มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๑๔-๒๐.
"รุด ตรวจโบราณสถาน 'ป้อมป้องปัจจามิตร' หลังขุดพบขณะสร้างตึกเขตคลองสาน," มติ ชนออนไลน์. วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๐.
"วัง สมเด็จกรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์," ในอาษา. ฉบับที่ ๘ : ๒๕๕๐ : หน้า ๘๒-๘๓.
วิเศษไชยศรี. "พิธีลงสรง," ใน พระเมรุกลางเมือง ร.ศ.๑๑๙ ตอนที่ ๗. ดิฉัน. ฉบับที่ ๗๕๑ : ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๑ : หน้า ๑๘๐-๑๘๓.
ศรีศักร วัลลิโภดม. "โคตรวงศ์กับความเป็นไทย : กรณีตระภูลบุนนาค," จดหมายข่าวมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ .์ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๖๖ : พฤษภาคม-มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๑-๔.
ศรีสุรัตน์ สุขวโรดม. "การต่างประเทศของไทย จากอดีตถึงปัจจุบันในโอกาสครบรอบ ๑๓๒ ปี การสถาปนากระทรวงการต่างประเทศ วันที่ ๑๔ เมษายน ๒๕๕๐," วิทยุสราญรมย์. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓๔ : มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๔-๔๐.
ส. พลายน้อย. "ตราเจ้ากรม โหร," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๔๐-๔๑.
ส. พลายน้อย. "หมวกเจ้า," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๑ : พฤศจิกายน ๒๕๕๐ : หน้า ๓๒-๓๓.
สมใจ นิ่มเล็ก. "เรื่องของกาบ หมาก หรือกาบปูเล," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๘ ฉบับที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๑๖๒-๑๖๙.
สิริวรรณ นันทจันทูล. "จากฉัตร ร่ม ถึง ฉัตร คำพ้องความ พระมหากษัตริย์ในวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ,"
วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๖ (ธันวาคม ๒๕๕๒-มิถุนายน ๒๕๕๓). หน้า ๓๗-๖๑.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. "ภาษาเป็นอาวุธของคนอวดอำนาจ," มติชน. วันจันทร์ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๓๔.
สุชาติ เถาทอง. "อิทธิพลตะวันตก : กระบวนแบบจิตรกรรมฝาผนังบูรพา," วารสารศิลปกรรมบูรพา. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ : ธันวาคม ๒๕๔๙-พฤษภาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๖-๑๔.
สุพจน์ แจ้งเร็ว. "รัชกาลที่ ๕ ทรงเที่ยวกลางคืน," ศิลป วัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๑ : พฤศจิกายน ๒๕๕๐ : หน้า ๘๐-๑๐๖.
สุพิน ธนวัฒน์เสรี. "ไกร ฤกษ์ นานา : มองยุโรปผ่านแว่นสยาม ร.ศ.๑๑๒," MBA . ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๓ : กันยายน ๒๕๕๑ : หน้า ๑๓๖-๑๕๐.
"๒๐๐ ปี พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงษาธิราชสนิทบุคคลสำคัญของโลก," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๓ : มกราคม ๒๕๕๑ : หน้า ๑๘.
แสงอรุณ กนกพงษ์ชัย. "กงเต๊กหลวง งานพระบรมศพรัชกาลที่ ๓," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๕ : มีนาคม ๒๕๕๑ : ๔๘-๕๐.
องค์ บรรจุน. "ข้าวแช่ : ติดสินบนเทวดาขอให้ได้ลูก," ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๓๑ ฉบับที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๓. หน้า ๗๔-๗๘.
องค์ บรรจุน. “ภาพปีติวันวาน จากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ ถึงพระอนุชา : พิธีสวดพระปริตรมอญถวายในหลวงครบ ๖ รอบ ที่ธรรมศาสตร์,” สารคดี. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๗๘ : เมษายน ๒๕๕๑ : หน้า ๑๖๒-๑๖๗.
อนรรฆ พิทักษ์ธานิน. "หนังสืออนุสรณ์งานศพ : พื้นที่แห่งความทรงจำ (ที่ถูกเลือก)," ดำรงวิชาการ . ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ : มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๐ : หน้า ๑๓๒-๑๕๘.
อนุวัฒน์ วัฒนาวงศ์สว่าง. "๑๒๕ ปี ไปรษณีย์ไทย," สารคดี. ปีที่ ๒๔ ฉบับที่ ๒๘๒ : สิงหาคม ๒๕๕๑ : หน้า ๙๖-๑๒๑.
อรพันธ์ สินธ์ศิริมานะ. "จากพระราชหัตถเลขาถึงหนังสือราชการไทย," จดหมายข่าวสมาคมจดหมายเหตุไทย . ฉบับที่ ๓ : ตุลาคม ๒๕๔๙-กันยายน ๒๕๕๐ : หน้า ๑๔-๑๘.
อาษา ทองธรรมชาติ. "พระที่นั่ง อนันตสมาคม...นามนี้เป็นมากกว่าที่รับแขกบ้านแขกเมือง," วารสาร ผังเมือง. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ : กุมภาพันธ์-พฤษภาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๕๑-๕๔.
เอกสิทธิ์ กัณวเศรษฐ. "กรสาปน," จุลสารพิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๖ : มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๐ : หน้า ๕-๘.